บทความนี้จะมาพูดถึงการทำ Static Route บนอุปกรณ์ Huawei กันครับ
ปล.บทความนี้อาจจะยาวหน่อยนะครับ แต่ส่วนมากจะเป็น Log ที่เกิดจากการใช้ Command ครับ อย่าเพิ่งตกใจในความยาวกันนะ ฮ่า ๆ ๆ
1. ใช้คำสั่ง system-view เพื่อเข้าสู่โหมด Global Configuration
<RTA>system-view
[RTA]
2. Configure Static Route โดยใช้คำสั่งดังต่อไปนี้
Command Format :
ip route-static ip-address[IPv4] prefix[mask | mask-length] nexthop[nexthop-address | interface-type interface-number]
โดยที่
ip-address :
กำหนด IP Address ปลายทางที่ต้องการจะไป [IPv4]
prefix :
กำหนด Subnet Mask ของ Network ปลายทางที่ต้องการจะไป [mask | mask-length]
หากต้องการกำหนดเป็นแบบ mask ให้ใส่เป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่างเช่น 24
หากต้องการกำหนดเป็นแบบ mask-length ให้ใส่เป็นเลขฐานสอง ตัวอย่างเช่น 255.255.255.0
nexthop :
กำหนดว่าจะไปปลายทางโดยผ่าน Gateway IP Address เบอร์อะไร [nexthop-address]
โดยที่ Gateway IP Address จะหมายถึง IP Address ที่ขาของอุปกรณ์ Layer 3 ฝั่งตรงข้าม/ตัวถัดไป
หรือกำหนดว่าจะไปปลายทางโดยผ่าน Interface อะไร [interface-type interface-number]
โดยที่ Interface นี้ จะหมายถึง ขาของอุปกรณ์ Layer 3 ตัวเอง ที่ต่อไปยังอุปกรณ์ Layer 3 ตัวถัดไป
ยกตัวอย่างจากภาพ
ที่ RTA กำหนดให้
Interface Gigabit Ethernet 0/0/1 มี IP Address : 10.0.12.1 Subnet Mask : 255.255.255.0
Interface Ethernet 0/0/0 มี IP Address : 192.168.1.254 Subnet Mask : 255.255.255.0
ที่ RTB กำหนดให้
Interface Gigabit Ethernet 0/0/1 มี IP Address : 10.0.12.2 Subnet Mask : 255.255.255.0
Interface Ethernet 0/0/0 มี IP Address : 192.168.2.254 Subnet Mask : 255.255.255.0
ที่ PC1 กำหนดให้
Interface Ethernet 0/0/1 มี IP Address : 192.168.1.10 Subnet Mask : 255.255.255.0 Gateway 192.168.1.254
ที่ PC2 กำหนดให้
Interface Ethernet 0/0/1 มี IP Address : 192.168.2.10 Subnet Mask : 255.255.255.0 Gateway 192.168.2.254
แนวทางการ Configure Static Route
ที่ RTA
<RTA>system-view
[RTA]ip route-static 192.168.2.0 255.255.255.0 10.0.12.2
ที่ RTB
<RTB>system-view
[RTB]ip route-static 192.168.1.0 255.255.255.0 10.0.12.1
แนวทางการตรวจสอบ (Verify) โดยใช้คำสั่ง display ip routing-table
ที่ RTA
[RTA]display ip routing-table
Route Flags: R - relay, D - download to fib
------------------------------------------------------------------------------
Routing Tables: Public
Destinations : 7 Routes : 7
Destination/Mask Proto Pre Cost Flags NextHop Interface
10.0.12.0/24 Direct 0 0 D 10.0.12.1 GigabitEthernet0/0/1
10.0.12.1/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 GigabitEthernet0/0/1
127.0.0.0/8 Direct 0 0 D 127.0.0.1 InLoopBack0
127.0.0.1/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 InLoopBack0
192.168.1.0/24 Direct 0 0 D 192.168.1.254 Ethernet0/0/0
192.168.1.254/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 Ethernet0/0/0
192.168.2.0/24 Static 60 0 RD 10.0.12.2 GigabitEthernet0/0/1
*จะเห็นได้ว่าในตาราง Routing-Table นั้น มี Network ที่เราต้องหารจะติดต่อ เพิ่มเข้ามาในตาราง Routing-Table เรียบร้อยแล้ว ดังแทบสีเหลือง
ที่ RTB
[RTB]display ip routing-table
Route Flags: R - relay, D - download to fib
------------------------------------------------------------------------------
Routing Tables: Public
Destinations : 7 Routes : 7
Destination/Mask Proto Pre Cost Flags NextHop Interface
10.0.12.0/24 Direct 0 0 D 10.0.12.2 GigabitEthernet0/0/1
10.0.12.2/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 GigabitEthernet0/0/1
127.0.0.0/8 Direct 0 0 D 127.0.0.1 InLoopBack0
127.0.0.1/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 InLoopBack0
192.168.1.0/24 Static 60 0 RD 10.0.12.1 GigabitEthernet0/0/1
192.168.2.0/24 Direct 0 0 D 192.168.2.254 Ethernet0/0/0
192.168.2.254/32 Direct 0 0 D 127.0.0.1 Ethernet0/0/0
*และจะเห็นได้ว่าในตาราง Routing-Table นั้น มี Network ที่เราต้องหารจะติดต่อ เพิ่มเข้ามาในตาราง Routing-Table เรียบร้อยแล้วเช่นเดียวกัน ดังแทบสีเหลือง
เมื่อทั้ง RTA และ RTB มี Network ปลายทางอยู่ในตาราง Routing-Table ดังข้างต้นแล้ว นั่นหมายความว่าทั้ง RTA และ RTB ได้รู้จัก Network ดังกล่าว และทราบแล้วว่าควรจะ Forward Packet ไปในทิศทางใด
แนวทางการตรวจสอบ (Verify) โดยใช้คำสั่ง ping บน PC แต่ละเครื่อง
Tips : เทคนิคการตรวจสอบเส้นทางของ Packet โดยใช้คำสั่ง Ping ผมแนะนำว่าควรจะดำเนินการ Ping จากต้นทาง ไปยังที่ IP Address ทีละ Hop เพราะจะได้ทราบว่า Packet ถูก Drop ที่ Hop ไหนของเส้นทาง (หากไม่เข้าใจ ลองอ่านจากด้านล่างต่อครับ น่าจะพอเห็นภาพ ลักษณะการ Ping ที่ผมแนะนำ)
ที่ PC1 (ขอยกตัวอย่างการ ping เพียงแค่ PC1 เท่านั้น)
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ Gateway ของ Network ตัวเอง
PC1>ping 192.168.1.254 -c 2
Ping 192.168.1.254: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.1.254: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=46 ms
From 192.168.1.254: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=32 ms
--- 192.168.1.254 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 32/39/46 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ GigabitEthernet0/0/1 ของ RTA
PC1>ping 10.0.12.1 -c 2
Ping 10.0.12.1: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 10.0.12.1: bytes=32 seq=1 ttl=255 time=16 ms
From 10.0.12.1: bytes=32 seq=2 ttl=255 time=15 ms
--- 10.0.12.1 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 15/15/16 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ GigabitEthernet0/0/1 ของ RTB
PC1>ping 10.0.12.2 -c 2
Ping 10.0.12.2: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 10.0.12.2: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=31 ms
From 10.0.12.2: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=32 ms
--- 10.0.12.2 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 31/31/32 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ Gateway ของ Network ของ Client ปลายทาง
PC1>ping 192.168.2.254 -c 2
Ping 192.168.2.254: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.2.254: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=62 ms
From 192.168.2.254: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=63 ms
--- 192.168.2.254 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 62/62/63 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ IP Address ของ Client ปลายทาง (PC2)
PC1>ping 192.168.2.20 -c 2
Ping 192.168.2.20: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.2.20: bytes=32 seq=1 ttl=126 time=47 ms
From 192.168.2.20: bytes=32 seq=2 ttl=126 time=47 ms
--- 192.168.2.20 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 47/47/47 ms
จากการตรวจสอบเส้นทางโดยใช้คำสั่ง ping พบว่าสามารถ ping ไปได้ทุก hop และ ping ไปยัง PC2 ปลายทางได้สำเร็จ
เป็นไงกันบ้างครับสำหรับบทความเกี่ยวกับการทำ Static Route บนอุปกรณ์ Layer 3 ของ Huawei ผมหวังว่าจะมีประโยชน์กับทุกท่านนะครับ ผมพยายามเขียนให้ละเอียดมาก ๆ เพื่อจะได้เข้าใจกันอย่างถูกต้องในวิธีการใช้ Command แล้วพบกันใหม่กับบทความต่อไปครับ
*และจะเห็นได้ว่าในตาราง Routing-Table นั้น มี Network ที่เราต้องหารจะติดต่อ เพิ่มเข้ามาในตาราง Routing-Table เรียบร้อยแล้วเช่นเดียวกัน ดังแทบสีเหลือง
เมื่อทั้ง RTA และ RTB มี Network ปลายทางอยู่ในตาราง Routing-Table ดังข้างต้นแล้ว นั่นหมายความว่าทั้ง RTA และ RTB ได้รู้จัก Network ดังกล่าว และทราบแล้วว่าควรจะ Forward Packet ไปในทิศทางใด
แนวทางการตรวจสอบ (Verify) โดยใช้คำสั่ง ping บน PC แต่ละเครื่อง
Tips : เทคนิคการตรวจสอบเส้นทางของ Packet โดยใช้คำสั่ง Ping ผมแนะนำว่าควรจะดำเนินการ Ping จากต้นทาง ไปยังที่ IP Address ทีละ Hop เพราะจะได้ทราบว่า Packet ถูก Drop ที่ Hop ไหนของเส้นทาง (หากไม่เข้าใจ ลองอ่านจากด้านล่างต่อครับ น่าจะพอเห็นภาพ ลักษณะการ Ping ที่ผมแนะนำ)
ที่ PC1 (ขอยกตัวอย่างการ ping เพียงแค่ PC1 เท่านั้น)
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ Gateway ของ Network ตัวเอง
PC1>ping 192.168.1.254 -c 2
Ping 192.168.1.254: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.1.254: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=46 ms
From 192.168.1.254: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=32 ms
--- 192.168.1.254 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 32/39/46 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ GigabitEthernet0/0/1 ของ RTA
PC1>ping 10.0.12.1 -c 2
Ping 10.0.12.1: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 10.0.12.1: bytes=32 seq=1 ttl=255 time=16 ms
From 10.0.12.1: bytes=32 seq=2 ttl=255 time=15 ms
--- 10.0.12.1 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 15/15/16 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ GigabitEthernet0/0/1 ของ RTB
PC1>ping 10.0.12.2 -c 2
Ping 10.0.12.2: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 10.0.12.2: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=31 ms
From 10.0.12.2: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=32 ms
--- 10.0.12.2 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 31/31/32 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ Gateway ของ Network ของ Client ปลายทาง
PC1>ping 192.168.2.254 -c 2
Ping 192.168.2.254: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.2.254: bytes=32 seq=1 ttl=254 time=62 ms
From 192.168.2.254: bytes=32 seq=2 ttl=254 time=63 ms
--- 192.168.2.254 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 62/62/63 ms
ใช้คำสั่ง ping ไปที่ IP Address ของ Client ปลายทาง (PC2)
PC1>ping 192.168.2.20 -c 2
Ping 192.168.2.20: 32 data bytes, Press Ctrl_C to break
From 192.168.2.20: bytes=32 seq=1 ttl=126 time=47 ms
From 192.168.2.20: bytes=32 seq=2 ttl=126 time=47 ms
--- 192.168.2.20 ping statistics ---
2 packet(s) transmitted
2 packet(s) received
0.00% packet loss
round-trip min/avg/max = 47/47/47 ms
จากการตรวจสอบเส้นทางโดยใช้คำสั่ง ping พบว่าสามารถ ping ไปได้ทุก hop และ ping ไปยัง PC2 ปลายทางได้สำเร็จ
เป็นไงกันบ้างครับสำหรับบทความเกี่ยวกับการทำ Static Route บนอุปกรณ์ Layer 3 ของ Huawei ผมหวังว่าจะมีประโยชน์กับทุกท่านนะครับ ผมพยายามเขียนให้ละเอียดมาก ๆ เพื่อจะได้เข้าใจกันอย่างถูกต้องในวิธีการใช้ Command แล้วพบกันใหม่กับบทความต่อไปครับ
ขอบคุณมากครับผม
Network Society
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น